พระกรุหนองหลอด พิมพ์พระพุทธเจ้าเคียงข้างพระสาวก พระโมคคัลลา พระสารีบุตร ต.เชียงยืน อ.เมือง จ.อุดรธานี พ.ศ.๑๓๐๐ - ๑๔๐๐
|
|||||||||||||||||
|
|||||||||||||||||
ส่งข้อความ
|
|||||||||||||||||
ชื่อร้านค้า
|
(กอล์ฟ + มน) พระเครื่อง | ||||||||||||||||
โดย
|
mon37 | ||||||||||||||||
ประเภทพระเครื่อง
|
พระเกจิทั่วไป | ||||||||||||||||
ชื่อพระ
|
พระกรุหนองหลอด พิมพ์พระพุทธเจ้าเคียงข้างพระสาวก พระโมคคัลลา พระสารีบุตร ต.เชียงยืน อ.เมือง จ.อุดรธานี พ.ศ.๑๓๐๐ - ๑๔๐๐ |
||||||||||||||||
รายละเอียด
|
พระกรุหนองหลอด พิมพ์พระพุทธเจ้าเคียงข้างพระสาวก พระโมคคัลลา,พระสารีบุตร ต.เชียงยืน อ.เมือง จ.อุดรธานี พ.ศ.๑๓๐๐-๑๔๐๐ - พระกรุหนองหลอด ต.เชียงยืน อ.เมือง จ.อุดรธานี พระกรุสมัยทราวดี ที่กลายเป็นตำนาน (ก่อนที่จะถูกลืม) >>>จากการศึกษาพุทธศิลป์ของการสร้างพระกรุตั้งแต่ยุคทวาราวดีมาจนถึงยุคอยุธยา ได้พบการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญตามลำดับดังนี้พระกรุกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ศิลปะคันธาระ ในยุคแรกๆประมาณ พ.ศ. ๒๓๕ มีการเริ่มนำเข้ามาที่ นครปฐมในปัจจุบัน มีการสร้างโดยใช้ศิลปะ “คันธาระ” ในช่วงยุคต้นๆของทวาราวดี โดยการผสมผสานกับแนวคิดและศิลปะท้องถิ่น ที่มีความหลากหลายพอสมควร จนกระทั่งประมาณ ปี พ.ศ. ๘๐๐ ก็พัฒนามาเป็นการใช้ศิลป์คุปตะ ที่ยังคงมีความเชื่อเกี่ยวกับ “ผี” เป็นฐาน พระพุทธเจ้าเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ที่ไม่ใช่คน พระถ้ำเสือ พิมพ์ตุ๊กตา เป็นพระพุทธรูปที่ผสมผสาน "รูปสักการะ" เข้ากับ"พุทธ" พระกรุนาดูน นาคปรกพิมพ์ใหญ่ ศิลปะ"คุปตะ" พระกระดุมศรีวิชัย ศิลปะ"คุปตะ" จึงทำให้มีลักษณะรูปทรงหยาบๆ ใช้จินตนาการของ “รูปสักการะ” แม้จะมีความอ่อนช้อยก็อยู่ในลักษณะเช่นนั้น พระพุทธรูปศิลปะ "คุปตะ" พระพุทธรูปศิลปะ "ปาละ" ในยุคที่สามของทวาราวดี ประมาณ พ.ศ. ๑๒๐๐-๑๖๐๐ ที่ใช้ศิลปะ “ปาละ”เริ่มมีความอ่อนช้อยมากขึ้น มีรายละเอียดขององค์พระ และองค์ประกอบต่างๆมากขึ้น มีสัดส่วนของ “คน” มากขึ้น พระกรุฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ เป็นพระทวาราวดียุคหลัง ที่ใช้ศิลปะ"ปาละ" ในขณะเดียวกัน ก็มีการแทรกศิลปะอินเดียใต้ “อมราวดี” เข้ามาอีกด้วย ที่เป็นช่วงปลายทวาราวดี และการเกิดของยุคอาณาจักรศรีวิชัย พ.ศ.๑๓๐๐-๑๘๐๐ ที่มีความอ่อนช้อยและรายละเอียดของศิลปะมาก พระพุทธรูป "อวโลกิเตศวร" จาก ไชยา สุราษฎร์ธานี ศิลป "อมราวดี" พระกรุหนองหลอด อุดรธานี ศิลปะ"อมราวดี" พระ "พุทธาวตาร" พระกรุพิมายยุคแรกๆ ที่ใช้ปราสาทหินเป็นเกศพระ ที่เป็นต้นแบบของปราสาทหิน "พิมาย"และนครวัด นครธม ในระยะต่อมา พอเข้ามาในยุคทวาราวดีตอนปลาย ต่อกับยุคลพบุรี ได้มีการปรับรูปแบบของการสร้างพระพุทธรูปเพื่อเชื่อมต่อกับแนวคิดของฮินดู มีทั้งการสร้างความเชื่อว่าพระพุทธเจ้าคือปางหนึ่งของพระนารายณ์ “พุทธาวตาร” หรือเป็นส่วนหนึ่งของศาสนาฮินดู เพื่อการกำจัดศาสนาพุทธ แบบเดียวกับที่เกิดขึ้นในอินเดีย และได้มีการสร้างพระพุทธรูปเป็นเทพเจ้า มีเครื่องทรงแบบกษัตริย์ ควบคู่ไปกับการสร้างเทวรูปทั้งในยุค “ปาปวน” และยุค “บายน”ตามลำดับ การพัฒนาพุทธศิลป์ที่เป็นพุทธรูปแบบบริสุทธิ์มากขึ้น โดยเริ่มในยุคปลายลพบุรี ในกลุ่มพระ “ลำพูน” อู่ทอง เชียงแสน และสุโขทัย ที่มีความเป็น “พระ” มากกว่าเป็น เทพ หรือ ผี หรือ รูปสักการะ พระกรุดอยคำ ยุคทวาราวดี ที่เป็นต้นแบบของพระรอด ในยุคลำพูน หรือตอนปลายของลพบุรี แต่ก็มีเอกลักษณ์ของศิลป์ประจำถิ่นปนอยู่ ทำให้มีความหลากหลายตามพื้นที่ และตามยุค ทั้งในเชิงศิลปะ เนื้อพระ และมวลสาร ขอบอบพระคุณข้อมูลจาก บันทึกนี้เขียนที่ gotoknow โดย ดร. แสวง รวยสูงเนิน |
||||||||||||||||
ราคา
|
- | ||||||||||||||||
เบอร์โทรศัพท์ติดต่อ
|
(095-8629621)Golf, Line ID: Golf656565 | ||||||||||||||||
ID LINE
|
Golf (ID LINE:Golf6), (มน ID:090-3569057) | ||||||||||||||||
จำนวนการเข้าชม
|
1,947 ครั้ง | ||||||||||||||||
บัญชีธนาคารที่ใช้ยืนยันตัวตน
|
ธนาคารกรุงเทพ / 125-4-59948-1
|
||||||||||||||||
|